กุมภลักษณ์
โดย :
ฝ่ายนวัตกกรมเพื่อการเรียนรู้
Hits
30924
เมื่อ :
วันจันทร์, 21 ตุลาคม 2562
กุมภลักษณ์ พบบริเวณพื้นท้องน้ำ บริเวณน้ำตก และบริเวณที่ทางน้ำไหลเชี่ยวกุมภลักษณ์ มีลักษณะเป็นหลุมทรงกระบอก มีแกนยาวตั้งฉากกับพื้นท้องน้ำ และมีพื้นที่หน้าตัดเป็นวงกลม ความลึก และเส้นผ่านศูนย์กลางของกุมภลักษณ์ อาจมีขนาดที่แปรเปลี่ยน ซึ่งความลึกอาจลึกมากกว่า 1 เมตร และอาจมีเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 10 เมตรบริเวณส่วนก้นหลุมของกุมภลักษณ์ จะพบกรวด และทราย ที่ตกตะกอนจากทางน้ำ
การเกิดกุมภลักษณ์เกิดจากกระแสน้ำที่ไหลแบบการไหลปั่นป่วน หมุนวน พาตะกอนขนาด กรวด และทราย กัดเซาะ และขัดสีหินพื้นท้องน้ำจนเป็นหลุมขึ้น
คำสำคัญ
กุมภลักษณ์, หิน, น้ำ, น้ำไหลวน, กัดเซาะ, การกร่อน
ประเภท
Image
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
ฝ่ายนวัตกกรมเพื่อการเรียนรู้
วิชา
โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ระดับชั้น
ม.2
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน, บุคคลทั่วไป
คุณอาจจะสนใจ
Hits
(33381)

ให้คะแนน
หินฟิลไลต์ (Phyllite) เป็นประเภท หินแปร ลักษณะ มีส่วนประกอบคล้ายหินชนวน ...
Hits
(25161)

ให้คะแนน
หินเชิร์ต (อังกฤษ: chert) หินตะกอนเนื้อแน่น แข็ง เกิดจากการตกผลึกใหม่ ...
Hits
(25275)

ให้คะแนน
หินทรายแป้ง(Siltstone) คือหินตะกอนชนิดหนึ่งที่มีขนาดของตะกอนเล็กกว่า 1/16 มิลลิเมตร ...