ความเข้มรังสีแกมมาตามแนวทางหลวงหมายเลข 401 และ 4247
ชื่อผู้ทำโครงงาน
เจตรจันทร์ จันทร์นุ้ย
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
โครงงานทางฟิสิกส์เรื่องนี้เป็นการศึกษาความเข้มรังสีแกมมาตามแนวทางหลวงหมายเลข 401 และ 4247 เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลของความเข้มรังสีแกมมาในพื้นที่ศึกษา โดยใช้เครื่องสเปกโตร-มิเตอร์รังสีแกมมา GS-512 ผลการศึกษาพบว่าความเข้มข้นรังสีแกมมาเฉลี่ยที่มาจากโพแตสเซียมมีค่ามากที่สุดในบริเวณหินโคลนปนกรวดและมีค่าน้อยที่สุดในบริเวณหินปูนและปริมาณความเข้มข้นสมมูลเฉลี่ยของยูเรเนียมมีค่ามากที่สุดบริเวณของหินปูนและมีค่าน้อยที่สุดในเป็นบริเวณของหินโคลนปนกรวด ส่วนปริมาณความเข้มข้นสมมูลเฉลี่ยของทอเรียมมีค่ามากที่สุดในบริเวณของตะกอนที่ราบสะสมตัวโดยทางน้ำและมีค่าน้อยที่สุดในหินปูนและอัตราส่วน eTh/eU, K(%)/eTh และ K(%)/eU สามารถนำไปสู่การแบ่งแยกชนิดของหินบริเวณผิวดินได้
คำสำคัญ
เข้ม,รังสี,แกมมา
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
เจตรจันทร์ จันทร์นุ้ย
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
คุณอาจจะสนใจ
Hits
(75775)

ให้คะแนน
การค้นคว้าแบบอิสระเชิงปริญญานิพนธ์ เรื่อง บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ฟอร์มผลึก เป็น ...
Hits
(95195)

ให้คะแนน
ในการต่อกิ่งมะม่วงพันธุ์ดีโดยใช้มะม่วงแก้วเป็นต้นตอ และใช้มะม่วงแรดเป็นกิ่งพันธุ์ ...
Hits
(76219)

ให้คะแนน
การประเมินค่าปริมาณโลหะหนักชนิดต่างๆ ได้แก่ ตะกั่ว แคดเมียม โครเมียม ด้วยเทคนิค ...