การศึกษาความแปรปรวนของสนามแม่เหล็กบริเวณโคโรนาของดวงอาทิตย์
ชื่อผู้ทำโครงงาน
นายรักพงษ์ กิตตินราดร
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ดร.เดวิด รูฟโฟโล
สถาบันการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
บรรยากาศชั้นโคโรนาของดวงอาทิตย์เป็นบริเวณที่มีสมบัติทางฟิสิกส์ที่น่าสนใจ กลไกการส่งถ่ายพลังงานมายังบรรยากาศในชั้นนี้เป็นที่สนใจของนักฟิสิกส์ ในปี 1999 ดาวเทียม TRACE ได้พบโครงสร้างที่น่าสนใจเรียกว่า moss ในบริเวณฐานของ coroma loop มีลักษณะเป็นหย่อมมืดและสว่างปะปนกัน ลักษณะเช่นนี้คล้ายกับปรากฏการณ์ dropout ของลมสุริยะเราจึงใช้ทฤษฎีที่อธิบายปรากฏการณ์ dropout มาอธิบายโครงสร้างของ moss โดยแบ่งเป็น 2 ส่วนเป็นการวิเคราะห์ทางทฤษฎีและการจำลองโดยใช้คอมพิวเตอร์ ในส่วนของทฤษฎีเราพบว่าสามารถอธิบาย moss ได้ด้วยวิธีเดียวกันกับปรากฏการณ์ dropout แต่การจำลองทางคอมพิวเตอร์ให้ผลขัดแย้งกับภาพที่ได้จากดาวเทียม
ดาวน์โหลด
คำสำคัญ
สนาม,แม่เหล็ก,โคโรนา,ดวงอาทิตย์
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
นายรักพงษ์ กิตตินราดร
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน, บุคคลทั่วไป
คุณอาจจะสนใจ
Hits
(79045)

ให้คะแนน
ฟ้าทะลายโจร(Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall. ex Nees) ...
Hits
(75413)

ให้คะแนน
โปรแกรมย่อใจความสำคัญ (Summarizer) เป็นโปรแกรมที่มีการค้นคว้าวิจัยมานาน ...
Hits
(80031)

ให้คะแนน
ในปัจจุบันที่เกิดจากดวงอาทิตย์ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของ ลมสุริยะ (Solar Wind ) หรือ ...