การศึกษาการลดลงของอนุภาคพลังงานสูงตามเวลาจากการปะทุบนดวงอาทิตย์
ชื่อผู้ทำโครงงาน
เพิ่มพูน เพิ่มพรม
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
ดร.ฑิราณี ขำล้ำเลิศ
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ฟิสิกส์
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ศึกษาการลดลงของอนุภาคพลังงานสูงตามเวลาจากการปะทุบนดวงอาทิตย์ ในวันที่ 8 กันยายน 2548 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การปะทุแบบทันทีทันใด (Impulsive Solar Flare) และวันที่ 14 ธันวาคม 2549 ซึ่งเป็นการปะทุแบบค่อยเป็นค่อยไป (Gradual Solar Flare) สำหรับธาตุ He, C, N, O, Ne, Mg, Si, S และ Fe ที่ระดับพลังงานต่างๆ โดยข้อมูลจากเครื่องมือ The Solar Isotope Spectrometer (SIS) บนยานอวกาศ Advanced Composition Explorer (ACE) ผลการศึกษาพบว่า ค่าดัชนีสเปกตรัม () ของเหตุการณ์การปะทุในวันที่ 8 กันยายน 2548 มีค่าอยู่ในช่วง 3.3192 – 5.255 ซึ่งสูงกว่าเหตุการณ์การปะทุในวันที่ 14 ธันว่าคม 2549 ที่มีค่าอยู่ในช่วง 2.149 – 3.0057 ซึ่งแสดงว่าการปะทุในวันที่ 8 กันยายน 2548 มีประสิทธิภาพในการเร่งอนุภาคสูงกว่าการปะทุในวันที่ 14 ธันวาคม 2549
คำสำคัญ
อนุภาค,พลัง,งาน,ปะ,ทุ,ดวง,อาทิตย์
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
เพิ่มพูน เพิ่มพรม
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
คุณอาจจะสนใจ
Hits
(77928)

ให้คะแนน
การวิจัยครั้งนี้วิเคราะห์หาปริมาณโลหะหนักในน้ำ ดินและดินตะกอน ...
Hits
(72776)

ให้คะแนน
เซเลเนียมเป็นโลหะที่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต พบอยู่ในธรรมชาติปริมาณน้อย ...
Hits
(75053)

ให้คะแนน
การวิจัยนี้เป็นการวิเคราะห์ตัวอย่างดิน 25 ตัวอย่าง ซึ่งได้เก็บตัวอย่างจากสวนส้มโชกุน 5 แห่ง ...