การศึกษาคาริโอไทป์ของแปะตำปึงและว่านมหากาฬแดง
ชื่อผู้ทำโครงงาน
แวฮัสเมาะห์ มามะ
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
รศ.ลัดดา เอกสมทราเมษฐ์
สถาบันการศึกษา
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ระดับชั้น
ปริญญาโทขึ้นไป
หมวดวิชา
ชีววิทยา
วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน
01 มกราคม 2541
บทคัดย่อ
ศึกษาคาริโอไทป์ของแปะตำปึง (Gynura procumbens Merr.) และว่านมหากาฬแดง (G. pseudochina (L.) DC. var. hispida Thv. ) โดยการนับจำนวนโครโมโซมจากเซลล์ปลายรากในระยะเมทาเฟสด้วยวิธี Feulgen squash พบว่า พืชทั้งสองชนิด มีจำนวนโครโมโซมเท่ากัน คือ 2n=20 โดยคาริโอไทป์ของ แปะตำปึงประกอบด้วยโครโมโซมชนิด เมทาเซนทริก 8 คู่ และซับเมทาเซนทริก 2 คู่ ขณะที่ว่านมหากาฬแดงประกอบด้วยโครโมโซมชนิด เมทาเซนทริก 7 คู่ และซับเมทาเซนทริก 3 คู่ ซึ่งคาริโอไทป์ของพืชทั้ง สองชนิดจัดเป็น symmetrical karyotype .
คำสำคัญ
คา,ริ,โอ,ไทป์,แปะ,ตำ,ปึง,ว่าน,มหา,กาฬ,แดง
ประเภท
Text
ลิขสิทธิ์
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน
แวฮัสเมาะห์ มามะ
ระดับชั้น
ม.4, ม.5, ม.6
กลุ่มเป้าหมาย
ครู, นักเรียน
-
5425 การศึกษาคาริโอไทป์ของแปะตำปึงและว่านมหากาฬแดง /project-chemistry/item/5425-2016-09-09-03-37-09เพิ่มในรายการโปรด
คุณอาจจะสนใจ
Hits
(83,405)

ให้คะแนน
พิษผึ้งถูกสังเคราะห์ขึ้นมาเพื่อใช้ป้องกันศัตรู มีองค์ประกอบหลักเป็นน้ำประมาณ 88% ...
Hits
(86,041)

ให้คะแนน
ในงานวิจัยชิ้นนี้ เรานำเสนอวิธีการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของศักย์ไฟฟ้าสำหรับ โครงสร้างใต้ผิวโลก ...
Hits
(68,065)

ให้คะแนน
แบคทีเรียจากปลวกถูกนำมาเลี้ยงบนอาหารแข็งในสภาพออกซิเจนต่ำที่ 28 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 2 วัน ...